3 สาเหตุ เดินแล้ว...ปวดเท้า

3 สาเหตุ เดินแล้ว...ปวดเท้า

บทความที่เกี่ยวข้อง

กระดูกงอกบริเวณเท้าและข้อเท้า

กระดูกงอกบริเวณเท้าและข้อเท้า

" กระดูกงอกบริเวณเท้าและข้อเท้า 5 ตำแหน่งยอดนิยม " #ปวดข้อเท้าเรื้อรัง การปวดเท้าหรือข้อเท้าเรื้อรังไม่หาย บางครั้งเมื่อตรวจด้วยภาพรังสีวินิจฉัย #อาจจะพบกระดูกงอกได้ โดยที่กระดูกงอกนั้นเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น การบาดเจ็บและความเสื่อมของเส้นเอ็น การใช้ข้อเท้าหนักๆจากการเล่นกีฬา กระดูกข้อเสื่อม หรือเป็นตั้งแต่แรกเกิด ซึ่งจากการที่ ปุ่มกระดูกมีการเชื่อมตัวผิดปกติ วันนี้หมอจะพามารู้จักกับ 5 ตำแหน่งยอดนิยมของการเกิดกระดูกงอกบริเวณเท้าและข้อเท้า 1.กระดูกงอกบริเวณส้นเท้าด้านหลัง (Haglund’s deformity) กระดูกงอกบริเวณนี้มักสัมพันธ์กับโรคจุดเกาะเอ็นร้อยหวายเสื่อมและอักเสบ เจ็บส้นเท้าด้านหลังเรื้อรัง กล้ามเนื้อน่องตึง ใส่รองเท้าได้ลำบาก 2.กระดูกงอกบริเวณส้นเท้าด้านล่าง (Calcaneal spur) พบได้ในผู้ป่วยโรครองช้ำ มีอาการเจ็บแปล๊บๆบริเวณส้นเท้าโดยเฉพาะช่วงตื่นนอนตอนเช้า 3.กระดูกงอกบริเวณอุ้งเท้าด้านใน (Accessory navicular) เกิดจากการไม่เชื่อมกันของปุ่มกระดูกตั้งแต่แรกเกิด (ซึ่งพบได้ประมาณร้อยละ 25-30 ในประชากร) ส่งผลให้เส้นเอ็นพยุงอุ้งเท้าที่มาเกาะกระดูกบริเวณนี้เกิดการอักเสบ เกิดอาการปวดข้อเท้าด้านในเรื้อรัง มักพบสัมพันธ์กับภาวะเท้าแบน 4.กระดูกงอกบริเวณข้อเท้าด้านหน้า (Anterior ankle impingement) กระดูกงอกชนิดนี้มักพบใน ผู้เล่นกีฬาเป็นประจำ เช่น ฟุตบอล มีอาการปวดข้อเท้าบวมๆยุบๆเป็นๆหาย ปวดมากขึ้นเวลากระดกข้อเท้าขึ้นสุด หรือนั่งยองๆ 5.กระดูกงอกบริเวณข้อเท้าด้านหลัง (Posterior ankle impingement) สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากไม่เชื่อมกันของปุ่มกระดูกบริเวณข้อเท้าด้านหลัง(Os trigonum) ทำให้เกิดกระดูกงอกไปกดเส้นเอ็นและเกิดการอักเสบตามมมา ผู้ป่วยจะมีมีอาการมากขึ้น ในท่าจิกข้อเท้าลงสุด หรือทำกิจกรรมที่ต้อง เขย่งเท้า การรักษาภาวะกระดูกงอกเริ่มด้วยวิธีการอนุรักษ์นิยมก่อน ได้แก่ พักการใช้งาน การประคบเย็น กินยาต้านการอักเสบระยะสั้น การปรับเปลี่ยนรองเท้า การบริหารยืดเส้นเอ็นร้อยหวาย แต่ถ้าหากอาการปวดเรื้อรัง ไม่ดีขึ้นแนะนำให้มาพบแพทย์เพื่อตรวจภาพถ่ายรังสีวินิจฉัย( X-ray) เพื่อประเมินขนาดและการกดทับเนื้อเยื่อโดยรอบ รวมถึงพิจารณาทางเลือก การผ่าตัดนำกระดูกงอกออก โดยวิธีการแบบเปิดหรือส่องกล้อง ที่ให้ผลการรักษาที่ดีเช่นกัน บทความโดย นพ.ปริญญา มณีประสพโชค เพราะเราอยากให้ทุกคนมีสุขภาพเท้าที่ดี #คลินิกศัลยกรรมเท้าและข้อเท้า #ศูนย์ศัลยกรรมกระดูกและข้อ

3 ระดับความรุนแรงของข้อเท้าแพง

3 ระดับความรุนแรงของข้อเท้าแพง

วิธีกายภาพหลังผ่าตัดเอ็นข้อเท้า

วิธีกายภาพหลังผ่าตัดเอ็นข้อเท้า

5 กระดูกงอก

5 กระดูกงอก

" กระดูกงอกบริเวณเท้าและข้อเท้า 5 ตำแหน่งยอดนิยม " #ปวดข้อเท้าเรื้อรัง การปวดเท้าหรือข้อเท้าเรื้อรังไม่หาย บางครั้งเมื่อตรวจด้วยภาพรังสีวินิจฉัย #อาจจะพบกระดูกงอกได้ โดยที่กระดูกงอกนั้นเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น การบาดเจ็บและความเสื่อมของเส้นเอ็น การใช้ข้อเท้าหนักๆจากการเล่นกีฬา กระดูกข้อเสื่อม หรือเป็นตั้งแต่แรกเกิด ซึ่งจากการที่ ปุ่มกระดูกมีการเชื่อมตัวผิดปกติ วันนี้หมอจะพามารู้จักกับ 5 ตำแหน่งยอดนิยมของการเกิดกระดูกงอกบริเวณเท้าและข้อเท้า 1.กระดูกงอกบริเวณส้นเท้าด้านหลัง (Haglund’s deformity) กระดูกงอกบริเวณนี้มักสัมพันธ์กับโรคจุดเกาะเอ็นร้อยหวายเสื่อมและอักเสบ เจ็บส้นเท้าด้านหลังเรื้อรัง กล้ามเนื้อน่องตึง ใส่รองเท้าได้ลำบาก 2.กระดูกงอกบริเวณส้นเท้าด้านล่าง (Calcaneal spur) พบได้ในผู้ป่วยโรครองช้ำ มีอาการเจ็บแปล๊บๆบริเวณส้นเท้าโดยเฉพาะช่วงตื่นนอนตอนเช้า 3.กระดูกงอกบริเวณอุ้งเท้าด้านใน (Accessory navicular) เกิดจากการไม่เชื่อมกันของปุ่มกระดูกตั้งแต่แรกเกิด (ซึ่งพบได้ประมาณร้อยละ 25-30 ในประชากร) ส่งผลให้เส้นเอ็นพยุงอุ้งเท้าที่มาเกาะกระดูกบริเวณนี้เกิดการอักเสบ เกิดอาการปวดข้อเท้าด้านในเรื้อรัง มักพบสัมพันธ์กับภาวะเท้าแบน 4.กระดูกงอกบริเวณข้อเท้าด้านหน้า (Anterior ankle impingement) กระดูกงอกชนิดนี้มักพบใน ผู้เล่นกีฬาเป็นประจำ เช่น ฟุตบอล มีอาการปวดข้อเท้าบวมๆยุบๆเป็นๆหาย ปวดมากขึ้นเวลากระดกข้อเท้าขึ้นสุด หรือนั่งยองๆ 5.กระดูกงอกบริเวณข้อเท้าด้านหลัง (Posterior ankle impingement) สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากไม่เชื่อมกันของปุ่มกระดูกบริเวณข้อเท้าด้านหลัง(Os trigonum) ทำให้เกิดกระดูกงอกไปกดเส้นเอ็นและเกิดการอักเสบตามมมา ผู้ป่วยจะมีมีอาการมากขึ้น ในท่าจิกข้อเท้าลงสุด หรือทำกิจกรรมที่ต้อง เขย่งเท้า การรักษาภาวะกระดูกงอกเริ่มด้วยวิธีการอนุรักษ์นิยมก่อน ได้แก่ พักการใช้งาน การประคบเย็น กินยาต้านการอักเสบระยะสั้น การปรับเปลี่ยนรองเท้า การบริหารยืดเส้นเอ็นร้อยหวาย แต่ถ้าหากอาการปวดเรื้อรัง ไม่ดีขึ้นแนะนำให้มาพบแพทย์เพื่อตรวจภาพถ่ายรังสีวินิจฉัย( X-ray) เพื่อประเมินขนาดและการกดทับเนื้อเยื่อโดยรอบ รวมถึงพิจารณาทางเลือก การผ่าตัดนำกระดูกงอกออก โดยวิธีการแบบเปิดหรือส่องกล้อง ที่ให้ผลการรักษาที่ดีเช่นกัน บทความโดย นพ.ปริญญา มณีประสพโชค เพราะเราอยากให้ทุกคนมีสุขภาพเท้าที่ดี สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ #คลินิกศัลยกรรมเท้าและข้อเท้าโรงพยาบาลกรุงเทพจันทบุรี โทร 039-319888

การผ่าตัดรักษานิ้วหัวแม่เท้าเกรุนแรง (Hallux Valg)

การผ่าตัดรักษานิ้วหัวแม่เท้าเกรุนแรง (Hallux Valg)

เคสผู้ป่วยชายวัย 80 ปี มาด้วยอาการนิ้วหัวแม่เท้าเกรุนแรงจนกดเบียดนิ้วชี้และนิ้วกลาง ทำให้ใช้ชีวิตประจำวันลำบากมาก มีอาการปวดและแผลกดทับเนื่องจากการดูแลทำความสะอาดยากนานกว่า 2 ปี เคสนี้ถือว่าเป็นเคสที่มีปัญหานิ้วหัวแม่เท้าเกรุนแรงหรือ **Hallux Valgus**ซึ่งเป็นเคสที่ซับซ้อนและต้องใช้การผ่าตัดที่ละเอียดอ่อนเพื่อแก้ไข แผนการรักษา ในผู้ป่วยรายนี้ ความผิดรูปของเท้ามีความซับซ้อน หมอได้วางแผนและทำการผ่าตัดโดยวิธีการดังนี้: 1. ผ่าตัดเชื่อมข้อโคนกระดูกนิ้วโป้งเท้า เพื่อปรับแนวกระดูกให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง 2. ปรับมุมกระดูกนิ้วชี้และนิ้วกลางเพื่อป้องกันการเบียดหรือกดกัน 3. ยืดเส้นเอ็นนิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนาง เพื่อให้การเคลื่อนไหวของนิ้วกลับมาเป็นปกติ ผลลัพธ์หลังผ่าตัด ✳️ ผลการผ่าตัดเป็นที่น่าพอใจ แนวกระดูกเท้ากลับมาเรียงตรงดี ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตได้สะดวกขึ้น อาการปวดและแผลกดทับก็หายไป คำแนะนำ หากใครที่มีปัญหากระดูกนิ้วเท้าเริ่มเอียงหรือผิดรูป อย่าปล่อยทิ้งไว้ให้เป็นมากจนส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ควรเข้ารับการปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสมตั้งแต่เนิ่นๆ บทความโดย**นพ.ปริญญา มณีประสพโชค**ศัลยแพทย์ออโธปิดิกส์ อนุสาขาศัลยกรรมกระดูกเท้าและข้อเท้า ติดต่อนัดหมายแพทย์ คลิก https://doctor.bangkokhospitalchanthaburi.com/alldoctor.php

ภาวะอุ้งเท้าแบน

ภาวะอุ้งเท้าแบน

Hospital Logo

ติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่

บริการให้คำปรึกษาตลอด 24 ชั่วโมง