คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

โรครูมาตอยด์เป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่ง ที่มีลักษณะเด่นคือ มีการเจริญงอกงามของเยื่อบุข้ออย่างมาก เยื่อบุข้อนี้จะลุกลามและทำลายกระดูกและข้อในที่สุด โรคนี้มิได้เป็นแต่เฉพาะข้อเท่านั้น ยังอาจมีอาการทางระบบอื่น ๆ อีก เช่น ตา ประสาท กล้ามเนื้อ เป็นต้น

ผู้ใดบ้างที่เป็นโรครูมาตอยด์

โรครูมาตอยด์สามารถเป็นได้กับทุกกลุ่มอายุตั้งแต่เด็กจนถึงวัยชรา แต่ส่วนใหญ่จะพบในผู้ป่วยวัยกลางคน และพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
 

สาเหตุของโรครูมาตอยด์

สาเหตุที่แท้จริงยังไม่เป็นที่ทราบแน่นอน แต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับพันธุกรรม การมีฟันผุ การสูบบุหรี่
 

อาการของโรครูมาตอยด์

ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดข้อ ข้อบวม และเคลื่อนไหวข้อลำบาก จะเป็นมากที่สุดช่วงตื่นนอนเช้าและอาจมีอาการอยู่ 1 – 2 ชั่วโมงหรือทั้งวันก็ได้ ลักษณะอาการปวดข้อ ช่วงเช้านี้เป็นลักษณะสำคัญของโรครูมาตอยด์ ซึ่งต่างจากโรคไขข้ออื่น ๆ ตำแหน่งของข้อที่มีอาการปวดมากที่สุดมักจะเป็นที่มือและเท้า แต่มีโอกาสปวดข้อตำแหน่งอื่นได้ นอกจากอาการทางข้อแล้ว ผู้ป่วยโรครูมาตอยด์อาจมีอาการต่อไปนี้ได้ เช่น อ่อนเพลีย ไข้ต่ำ ๆ เบื่ออาหาร ตาแห้ง คอแห้งผิดปกติ พบก้อนใต้ผิวหนัง บริเวณข้อศอกและข้อนิ้วมือ ในรายที่ได้รับการรักษาล่าช้าอาจเกิดการทำลายข้อถาวร ทำให้ข้อพิการผิดรูปได้

การรักษา

  1. การใช้ยา ปัจจุบันมียามากมายที่ใช้ในการควบคุมและรักษาโรครูมาตอยด์ให้ได้ผลดี ยาเหล่านี้ ได้แก่ ยารักษารูมาตอยด์ โดยเฉพาะยาที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินโรคสารชีวภาพและยาต้านการอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์
  2. การพักผ่อนและการบริหารร่างกาย
  3. การป้องกันไม่ให้ข้อถูกทำลายมากขึ้นเป็นสิ่งสำคัญ
  4. การผ่าตัดจะมีบทบาทในการรักษาโรครูมาตอยด์ในกรณีที่ข้อถูกทำลายไปมากแล้ว
โรคเกาท์ (Gout)
โรคเกาท์ (Gout)

โรคเกาท์ (Gout)

คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

โรคเกาท์ (Gout) อ่านเพิ่มเติม...

“โรคเกาต์” รักษาหายหรือไม่
“โรคเกาต์” รักษาหายหรือไม่

“โรคเกาต์” รักษาหายหรือไม่

คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

“โรคเกาต์” รักษาหายหรือไม่ อ่านเพิ่มเติม...

"โรคเกาต์" สัญญาณเสี่ยงรีบพบแพทย์
"โรคเกาต์" สัญญาณเสี่ยงรีบพบแพทย์

"โรคเกาต์" สัญญาณเสี่ยงรีบพบแพทย์

คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

"โรคเกาต์" สัญญาณเสี่ยงรีบพบแพทย์ อ่านเพิ่มเติม...

เช็คอาการปวดข้อว่าเป็น เกาต์ หรือ ข้อเข่าเสื่อม
เช็คอาการปวดข้อว่าเป็น เกาต์ หรือ ข้อเข่าเสื่อม

เช็คอาการปวดข้อว่าเป็น เกาต์ หรือ ข้อเข่าเสื่อม

คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

เช็คอาการปวดข้อว่าเป็น เกาต์ หรือ ข้อเข่าเสื่อม อ่านเพิ่มเติม...

กรดยูริก กับ โรคเกาต์
กรดยูริก กับ โรคเกาต์

กรดยูริก กับ โรคเกาต์

คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

กรดยูริก กับ โรคเกาต์ อ่านเพิ่มเติม...

เกาต์เทียม กับ เกาต์ แตกต่างกันอย่างไร
เกาต์เทียม กับ เกาต์ แตกต่างกันอย่างไร

เกาต์เทียม กับ เกาต์ แตกต่างกันอย่างไร

คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

เกาต์เทียม กับ เกาต์ แตกต่างกันอย่างไร อ่านเพิ่มเติม...

กินไก่เยอะ เสี่ยงเกาต์จริงหรือไม่?
กินไก่เยอะ เสี่ยงเกาต์จริงหรือไม่?

กินไก่เยอะ เสี่ยงเกาต์จริงหรือไม่?

คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

กินไก่เยอะ เสี่ยงเกาต์จริงหรือไม่? อ่านเพิ่มเติม...

กินถูกหลัก ช่วยรักษาเกาต์
กินถูกหลัก ช่วยรักษาเกาต์

กินถูกหลัก ช่วยรักษาเกาต์

คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

กินถูกหลัก ช่วยรักษาเกาต์ อ่านเพิ่มเติม...

เกาต์ หญิงกับชายใครเสี่ยงกว่ากัน
เกาต์ หญิงกับชายใครเสี่ยงกว่ากัน

เกาต์ หญิงกับชายใครเสี่ยงกว่ากัน

คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

เกาต์ หญิงกับชายใครเสี่ยงกว่ากัน อ่านเพิ่มเติม...

หญิงวัยทอง เสี่ยงเกาต์
หญิงวัยทอง เสี่ยงเกาต์

หญิงวัยทอง เสี่ยงเกาต์

คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

หญิงวัยทอง เสี่ยงเกาต์ อ่านเพิ่มเติม...

การรักษาโรคเกาต์
การรักษาโรคเกาต์

การรักษาโรคเกาต์

คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

การรักษาโรคเกาต์ อ่านเพิ่มเติม...

โรคข้อรูมาตอยด์
โรคข้อรูมาตอยด์

โรคข้อรูมาตอยด์

คลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม

โรคข้อรูมาตอยด์ อ่านเพิ่มเติม...

ยังไม่มีรายการวิดิโอแสดง

ติดต่อเรา